
เป้าหมายควรเป็นไปให้คนในพื้นที่มีความเป็นอยู่ เศรษฐกิจที่ดี ตัวเลขไม่ได้บ่งบอกความเป็นอยู่ของคน การวัดมูลค่าเศรษฐกิจ แต่ไม่บ่งบอกถึงว่าความเป็นอยู่ของคนในพื้นที่ดีขึ้น
การกระจายรายได้ ถ้าหากมีมูลค่าแล้วมีการกระจายรายได้ ถึงจะเรียกว่าการพัฒนา ถ้าชาวบ้านไม่ได้ประโยชน์หรือตกอยู่ที่กลุ่มเล็กก็ยังไม่ตอบโจทย์ เป้าหมายการพัฒนาอีอีซี ความเป็นอยู่ คุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม การพัฒนาที่ยั่งยืน เศรษฐกิจ สังคม”
“ผลผลิตในจังหวัดจีดีพี ผลผลิต ระยอง มีรายได้สูง รายได้ต่อหัวประชากรโดยทั่วไป เป็นอย่างไร มีการกระจายรายได้ที่ดีไหม ตัวเลขจีดีพีอาจจะไปคนละทางกับคุณภาพชีวิตของประชาชน ถ้าหากจีดีพีสูง มาพร้อมกับสังคมที่มีการพัฒนาใส่ใจสิ่งแวดล้อม ก็จะดี ถ้าการพัฒนาที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงแต่ไม่ได้ใส่ใจเรื่องความเข็มแข็งของสังคม สิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิตของคน”
“ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม เป็นเรื่อง อากาศเสีย น้ำเสีย ทำให้สุขภาพไม่ดี สะท้อนถึงคุณภาพชีวิตที่ไม่ดี ถึงแม้ว่าค่าจีดีพีจะบอกว่ารายได้ต่อหัวสูง
ย้อนอิสเทินซีบอร์ด ประเทศไทย ค้นพบแก๊สอ่าวไทย พัฒนาเป็นนิคมอุตสาหกรรม ล่าสุดเป็น EEC เวอร์ชั่นต่ออิสเทินซีบอร์ด
การพัฒนาปัจจุบัน ต้องมาพร้อมเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม มีปัญหาเรื่องโลกร้อน โลกเดือดเราไม่สามารถทอดทิ้งสิ่งแวดล้อมแล้วไปแค่เรื่องเศรษฐกิจไม่ได้ มัจะเป็นไปตามเป้าหมายมั้ย ก็ตอบไม่ได้!! เศรษฐกิจเติบโตระดับนึง สังคมเข้มแข็งไหม ก็ยังมีคำถาม? สิ่งแวดล้อมยังยืนไหม ก็ยังมีคำถาม ?!”
การพัฒนาที่ไม่ได้คำนึงถึงต้นทุน และยังไม่มีตัวชี้วัด จะทำให้เราเสียอะไรบ้าง บทเรียนที่มีแล้วในไทย อีอีซี หรือบทเรียนในต่างประเทศ สิ่งสำคัญสุด ต้องศึกษาความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ ผลประโยชน์ที่เกิด ต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นคืออะไร เอามาดูกันว่าผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นมันมากว่าต้นทุนไหม ถึงจะมาพิจารณา ดังนั้นต้องมาคำนวนว่าใครจะได้รับผลกระทบเชิงลบ แล้วจะชดเชยได้อย่างไร
กรณี SEC เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ จากกาเข้าดูรายงาน มีคำถาม ผลประโยชน์ไม่ชัดเจน! จะทำให้เกิดประโยชน์กับเศรษฐกิจท้องถิ่นแค่ไหน!?
เรียกว่าเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนหรือเปล่า!!! ผลประโยชน์ไม่ชัดเจน!!!
โครงการขนาดใหญ่ มักจะโดนผลักดันทางการเมืองมากว่า เศรษฐศาสตร์ วิจัยทั่วโลก แปลว่าไม่ได้มีการคิดเรื่องผลประโยชน์และต้นทุน จะเป็นเหตุผลทางการเมือง หากเหตุผลทางการเมืองคำนวนเรื่องผลประโยชน์และต้นทุน ด้วยการที่การเมืองดูระยะยาว ก็อยู่ด้วยกันได้ ทำให้เศรษฐกิจเติบโตระยะยาว แตกต่างจากการเมืองแบบสายตาสั้นแบบประเทศไทย เลยออกมาเป็นลักษณะนโยบายแจกเงิน ไม่มีใครคิดถึงนโยบายระยะยาว เช่น การศึกษาการพัฒนาทักษะชีวิต การใส่ใจสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ยั่งยืน ต้องสมดุล สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม จะขาดอย่างใด อย่างนึงไม่ได้
“เราอยากเห็นการพัฒนาที่อยู่บนความสมดุล เราจะหวังจากนักการเมืองได้มากน้อยแค่ไหนในส่วนภาคประชาชน ต้องช่วยเหลือตัวเอง ให้มีความเข้มแข็ง ต้องมีการพูดถึงสิ่งที่อยากได้ สิ่งที่อยากเห็น ภาควิชาการเองก็ไม่สมารถขับเคลื่อนได้เลย
ภาคประชาสังคมจะเป็นภาคในการขับเคลื่อนที่ดีแต่ก็ยังต้องการการสนับสนุนในการทำงานร่วมกันกับภาควิชาการและต้องได้รับการร่วมมือจากภาคการเมือง ต้องทำงานร่วมกัน”
“กฎหมายคือเครื่องมือของรัฐ ควรจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศ ประชาชน ในฐานะที่เป็นเครื่องมือของรัฐต่อประเทศต่อประชาขน การเป็นกฎหมายที่เอื้อประโยชน์ให้นักธุรกิจ ซึ่งมันก็ไม่ถูกต้องอยู่แล้ว เพราะการออกกฎหมายก็มีต้นทุนมันก็ควรจะคุมค่ากับสิ่งที่เสียไป ต้นทุนของการออกกฎหมาย แล้วเราจะได้ประโชยน์อะไรจากการออกฏหมาย ถ้าเกิดปรเะโยชน์กับประเทศกับสาธารณะผลประโยชน์ที่ได้จากการออกกฎหมายมากกว่าต้นทุนในการออกกฎหมายมันจะคุ้มค่า แต่ถ้าผลประโยชน์ที่ออกกฎหมายนั้นมันติดลบ มันก็ไม่ควรที่จะออกกฎหมายนี้ตั้งแต่ต้น!!!
จากที่เห็นการศึกษา ผลประโยชน์และต้นทุน ก็ยังมีคำถามว่า ประโยชน์ที่ได้กับประเทศ กับประชาชนในพื้นที่ กับเศรษฐกิจท้องถิ่น คืออะไร?? ถ้ามีผลการศึกษาที่มันชี้ชัดว่ามีผลประโยชน์กับสาธารณะกับพื้นที่มาก
คนที่ทำกฎหมาย SEC เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ ต้องมความเข้าใจพื้นที่มุนเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม สภาพัฒน์ฯ จะเห็นเรื่องเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม สำหรับกระทรวงใดกระทรวงหนึ่งที่มาออกกฎหมายจะทำให้มีคำถาม เช่น เป็นการพัฒนาพื้นที่ ขับเคลื่อนโดยกระทรวงคมนาคม เข้าใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เขามีความเชี่ยวชาญมากน้อยแค่ไหน
การพัฒนาพื้นที่ ต้องเอาคนที่เข้าใจพื้นที่ ฟังเสียงของพื้นที่ว่าควรพัฒนาศักยภาพยังไง ต้องมีการพูดคุยนานมากกว่าจะได้ข้อสรุป ต้องเป็นกระบวนการอย่างมีส่วนร่วมอย่างโปร่งใส่และเปิดเผย จะทำให้รู้ว่าอะไรคือประโยชน์ที่แท้จริง แต่ถ้าไม่มีความโปร่งใส่ก็จะก่อให้เกิดความขัดแย้ง
หากประเทศไทยเรียนรู้ พูดคุย ถกเถียง สามารถทำได้ อยู่บนหลักฐานเชิงประจักษ์ไม่มีคำถาม มันจะทำให้เราอยู่บนความขัดแย้ง
ทุกวันนี้ภัยพิบัติทางธรรมชาติเกิดบ่อยขึ้น ถ้าเราทำการพัฒนาพื้นที่ ที่ไม่เข้าใจเรื่องสิ่งแวดล้อม ก็จะน่าเป็นห่วง เพราะสุดท้ายคนที่ได้รับผลเสียคือเรา